ออฟฟิศซินโดรม โรคยอดฮิตของคนยุคใหม่

ในยุคที่การทำงานที่บ้านกลายเป็นอีกหนึ่งภาวะปกติ เพราะเดี๋ยวนี้เกือบทุกเฟซเปลี่ยนระบบมาเป็นการ work from home แน่นอนว่าสมัยที่ทำงานในออฟฟิศเรายังได้ลุกเดินเลยได้ขยับร่างกายบ้าง แต่พอมาทำงานที่บ้านก็แทบจะไม่ได้ไปไหน บางคนดูหนังxเสร็จแล้วก็กินข้าวต่อบนโต๊ะคอมพิวเตอร์ นี่จึงเป็นอีกหนึ่งเหตุผลที่ทำให้คนยุคใหม่พบเจอกับปัญหาออฟฟิศซินโดรมมากขึ้น การที่เห็นได้ชัดคือจะปวดบริเวณคอ บ่า ไหล่ บางคนมีอาการปวดหลังอย่างรุนแรง
นอกจากนั้น ยังพบว่าอาการไมเกรนหรือปวดศีรษะเรื้อรัง ความเครียด การพักผ่อนไม่เพียงพอ แสงแดด ความร้อน และการขาดฮอร์โมนบางชนิด เป็นปัจจัยที่ทำให้อาการของโรคออฟฟิศซินโดรมมีภาวะรุนแรงมากขึ้น ถ้ามีหนังxเป็น ตัวช่วยในการกระตุ้นอาการ ก็จะยิ่งแย่ลง
อาการบาดเจ็บจากการทำงานสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ การบาดเจ็บแบบเฉียบพลัน (Acute Trauma Disorder: ATD) และการบาดเจ็บแบบสะสม (Cumulative Trauma Disorder: CTD) ซึ่งโรคออฟฟิศซินโดรมนั้นจะเป็นอาการเจ็บป่วยที่อยู่ในกลุ่มการบาดเจ็บแบบสะสม (Cumulative Trauma Disorder: CTD)
การบาดเจ็บแบบสะสมเกิดจากการทำงานในท่าเดิมนานๆ เช่น การนั่งทำงานหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานๆ เป็นเหตุให้กล้ามเนื้อทำงานในลักษณะเดิมอยู่ตลอดเวลา ส่งผลให้กล้ามเนื้อทำงานหนัก เกิดการบาดเจ็บแบบสะสม ซึ่งจะเป็นอาการที่เกิดขึ้นที่ไม่ใช่อาการแบบเฉียบพลัน ความรุนแรงของการบาดเจ็บแบบสะสม สามารถแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้
– ระยะที่ 1: ผู้ป่วยจะมีอาการปวดเมื่อยล้าในบริเวณที่ถูกใช้งานเป็นประจำ หลังจากทำงานต่อเนื่องไปได้ 3-4 ชั่วโมง และอาการจะหายไปทันทีเมื่อมีการได้ปรับเปลี่ยนอิริยาบถ หากไปพบแพทย์อาจตรวจไม่พบความผิดปกติทางโครงสร้างร่างกาย แต่เป็นเพียงความรําคาญหรือหงุดหงิดกับอาการเมื่อยล้าเท่านั้น ยังสามารถนัดดูหนังxนานๆได้เหมือนเดิม แต่อาจจะไม่ได้สบายตัวเท่าไหร่
– ระยะที่ 2: ผู้ป่วยจะมีอาการปวด เมื่อยล้า ชา หรืออ่อนแรง หลังจากทำงานไปในระยะเวลาสั้นๆ (ประมาณ 1-2 ชั่วโมง) และต้องมีการลุกเพื่อเปลี่ยนอิริยาบถบ่อยครั้ง โดยอาการมักจะเป็นคงค้างอยู่นานไม่หายไปทันที และส่งผลไปสู่การรบกวนการนอน หลังจากนอนพักอาการจะทุเลาลงบ้างเล็กน้อย เมื่อตื่นนอนจะมีอาการปวดตึง หากได้เคลื่อนไหวอาการก็เหมือนจะดีขึ้น แต่พอมาทำงานท่าเดิมๆ สักพักอาการก็กลับแย่ลงอีก ระยะนี้ถ้าผู้ป่วยดูแลตัวเองดีทำตามคำแนะนําของแพทย์หรือนักกายภาพบําบัดที่เชี่ยวชาญ ผู้ป่วยจะสามารถกลับมาหาย และกลับไปนอนดูหนังx เป็นปกติได้
– ระยะที่ 3. อาการปวด เจ็บ ชา หรืออ่อนแรงจะมากขึ้นและเร็วขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งจะมีอาการตลอดเวลา แม้เพียงทำกิจวัตรประจำวันเล็กๆ น้อย ก็ปวดจนแทบทนทำต่อไม่ได้ ผู้ป่วยอาจจะต้องขอลาออกจากงาน เพราะไม่สามารถทนทำงานในหน้าที่ต่อไปได้อีก อาการปวดรบกวนการนอนของผู้ป่วยมาก จนผู้ป่วยพักผ่อนไม่เพียงพอ จำเป็นต้องหยุดงานเพื่อรักษาตนเองอย่างจริงจังและต้องใช้เวลาในการฟื้นฟูสภาพร่างกายยาวนาน และแน่นอนว่าการดูหนังxคือเรื่องต้องห้ามเพื่อป้องกันไม่ให้กระตุ้นกล้ามเนื้อบางจุดที่ทำให้เกิดอาการปวด